รองศาสตราจารย์ ดร.วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์

ภาควิชา : ภาควิชาศิลปะไทย
สาขาวิชา : ศิลปะไทยและวัฒนธรรมสร้างสรรค์
หมายเลขโทรศัพท์ที่ทำงาน : 053-944817
Email : woralun.boonyasurat@cmu.ac.th

ประวัติทางการศึกษา

ปริญญาเอก สาขาวิชา: การจัดการมรดกสถาปัตยกรรมและการท่องเที่ยว(หลักสูตรนานาชาติ) สถาบัน: มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปริญญาโท สาขาวิชา: ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม สถาบัน: มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปริญญาตรี สาขาวิชา: ศิลปะไทย สถาบัน: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ประสบการณ์การทำงาน

งานวิจัย

  • การศึกษาแหล่งที่ตั้งโบราณสถานร้างเมืองเชียงใหม่ (2538 - 2539)
  • การศึกษารูปแบบวิหารทรงปราสาทภาคเหนือ (2539 - 2542)
  • การศึกษารูปแบบวิหารพื้นเมืองล้านนาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 20-24 (2540 - 2542)
  • การศึกษาเปรียบเทียบลักษณะวิหารระหว่างเมืองเชียงใหม่และหลวงพระบาง (2541 - 2543)
  • การศึกษาเปรียบเทียบวิหารร้างเมืองเชียงแสน อ.เชียงแสน จ.เชียงรายและวิหารร้าง เวียงกุมกาม อ.เมือง จ.เชียงใหม่ (2544 - 2545)
  • แบบแผนของวิหารสกุลช่างสุโขทัย (2547 - 2550)
  • การศึกษาความเป็นไปได้ในการปรับปรุงภูมิทัศน์เมืองเชียงแสน (2549)
  • การศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดทำเมืองลำพูนให้เป็นมรดกโลก (2550)
  • โครงการพิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมและชาติพันธ์ุล้านนา (2550 - 2551)

ผลงานตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับชาติ    

  • ณัฐพงศ์ สมยานะ, และ วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์. (2561). การอนุรักษ์และพัฒนาภูมิทัศน์วัฒนธรรมย่านอาคารเก่าถนนอินทยงยศ ในเขตเทศบาลเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน. (บทความตีพิมพ์). หนังสือ SOCIETY สังคมแห่งสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เล่ม 1. บทความในหนังสือ ชุดสังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย โครงการเอกสารทางวิชาการศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). หน้า 101.
  • รลัญจก์  บุณยสุรัตน์, สุกรี  เกษรเกศรา และ สถาพร เก่งพานิช. (2559). การจัดการพื้นที่ภูเขาศักดิ์สิทธิ์วัดม่อนพระยาแช่ ให้เป็นสถานที่แสวงบุญและท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. การประชุมวิชาการระดับชาติ “สถาปัตย์กระบวนทัศน์”. วันที่ 19-20 ธันวาคม 2559 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ตลิ่งชัน. หน้า 125 – 158
  • วรลัญจก์  บุณยสุรัตน์ และ วัชราภรณ์  ช่างเหล็ก. (2559). การจัดการชุมชนและพิพิธภัณฑ์พื้นถิ่นไทเขินบ้านต้นแหนน้อย อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ให้เป็นแหล่งเรียนรู้
  • วรลัญจก์  บุณยสุรัตน์, ธนียา เจติยานุกรกุล และ เชลียงพล เดือนเพ็ญ. (2559). การอนุรักษ์
  • วรลัญจก์  บุณยสุรัตน์, ธนียา เจติยานุกรกุล และ เอกอนันต์  โพธิ์สุยะ. (2559). การอนุรักษ์

    
ผลงานตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติ

  • Woralun  Boonyasurat. (2020) Conservation and Transmission of Local Wisdom Towards Creative City Initiation of Chiang Mai Province (International Journal of Crafts and Folk Arts Volume 1, 2020 by Jinju Creative Industries Promotion Association)
  • Woralun  Boonyasurat. (2020) Arts and Cultural Activities under the Pandemic: Problems and How to Solve Them (International Journal of Crafts and Folk Arts Volume 1, 2020 by Jinju Creative Industries Promotion Association) (Discussants) 
  • Woralun  Boonyasurat. (2018). Paveni Pi Mai Muang-New Year Festival of Chiang Mai. ICH Courier Intangible Cultural Heritage Courier of Asia and the Pacific. 1 : 14 - 15. (International Journal).

    
การนำเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ    

  • Woralun  Boonyasurat. (2019). Traditional Beliefs and Reviving Process of Chom Thong Buddha Relics Ritual.  2nd Jeonju – Chiang Mai International Conference on Traditional Culture in “Exchange of intangible cultural heritage activities & Establishment of Crafts Network”, 27 May 2019, Jeonju, Korea Chaiyachet kotthi, Woralun Boonyasurat and Suebsak Saenyakiatikhun. (2019). 
  • Phrabot (A Banner): Creative process and inherit of Bun Pad-Peng Tradition, Ban LuangHot district, Chiang Mai Province, Thailand.  2nd Jeonju – Chiang Mai International Conference on Traditional Culture in “Exchange of intangible cultural heritage activities & Establishment of Crafts Network”, 27 May 2019, Jeonju, Korea
  • Suwiporn Chunliprasert, Woralun Boonyasurat and Suebsak Saenyakiatikhun. (2019). Cultural Inheritance for the conservation of Sacred Historical Place in Banrachan at Phokaoton Temple, Singburi Province. 2nd Jeonju – Chiang Mai International Conference on Traditional Culture in “Exchange of intangible cultural heritage activities & Establishment of Crafts Network”, 27 May 2019, Jeonju, Korea

    
การนำเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ

  • ธนกร สุธีรศักดิ์, สืบศักดิ์ แสนยาเกียรติคุณ, และ วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์. (2562). การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา.  การประชุมวิชาการระดับชาติศรีโคตรบูรณ์ศึกษา ครั้งที่ 1 “แลสายน้ำโขงกับงานวัฒนธรรม เพื่อพัฒนาท้องถิ่น” วันพฤหัสบดีที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ.2562 ณ ห้องประชุมพนมศิลป์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เขตพื้นที่การศึกษามรุกขนคร มหาวิทยาลัยนครพนม
  • ณัฐพงศ์ สมยานะ, และ วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์. (2561). การอนุรักษ์และพัฒนาภูมิทัศน์วัฒนธรรม ย่านอาคารเก่าถนนอินทยงยศ ในเขตเทศบาลเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน. การประชุมสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 17 ระหว่างวันพฤหัสบดีที่ 22 – ศุกร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2561 ณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • สถาพร  เก่งพานิช, วรลัญจก์  บุณยสุรัตน์, และ สุกรี  เกสรเกศรา. (2559). การจัดการพื้นที่ภูเขาศักดิ์สิทธิ์วัดม่อนพระยาแช่ ให้เป็นสถานที่แสวงบุญและท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. การประชุมวิชาการระดับชาติ “สถาปัตย์กระบวนทัศน์”  วันที่ 19-20 ธันวาคม พ.ศ.2559 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ตลิ่งชัน. หน้า 125 – 158.
  • วัชราภรณ์  ช่างเหล็ก และ วรลัญจก์  บุณยสุรัตน์. (2559). การจัดการชุมชนและพิพิธภัณฑ์พื้นถิ่นไทเขินบ้านต้นแหนน้อย อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ให้เป็นแหล่งเรียนรู้และพิพิธภัณฑ์มีชีวิต. การประชุมวิชาการระดับชาติ “สถาปัตย์กระบวนทัศน์”  วันที่ 19-20 ธันวาคม พ.ศ.2559 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ตลิ่งชัน. หน้า 159 – 175
  • เชลียงพล เดือนเพ็ญ, วรลัญจก์  บุณยสุรัตน์, และธนียา เจติยานุกรกุล. (2559).  การอนุรักษ์และสืบสานลวดลายผ้าทอไทพวน บ้านหาดเสี้ยว อำเภอศรีสัชนาลัย  จังหวัดสุโขทัย. การประชุมวิชาการระดับชาติ “สถาปัตย์กระบวนทัศน์”  วันที่ 19-20 ธันวาคม พ.ศ.2559 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ตลิ่งชัน. หน้า 87 – 108
  • เอกอนันต์  โพธิ์สุยะ, วรลัญจก์  บุณยสุรัตน์, และธนียา เจติยานุกรกุล. (2559).  การอนุรักษ์และสืบสานผ้าซิ่นตีนจกไทยวน ชุมชนบ้านหัวเมือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน. การประชุมวิชาการระดับชาติ “สถาปัตย์กระบวนทัศน์”  วันที่ 19-20 ธันวาคม พ.ศ.2559 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ตลิ่งชัน.  หน้า 109 – 12

    
หนังสือ    

  • ปี 2537  หนังสือผลการวิจัยประกอบการบูรณะ เรื่อง วิหารลายคำ: ประวัติความเป็นมาลักษณะและแนวทางการอนุรักษ์, ร่วมกับ ม.ล.สุรสวัสดิ์ สุขสวัสดิ์, อ. สมปอง เพ็งจันทร์,จิรศักดิ์ เดชวงศ์ญา (เชียงใหม่:สถาบันวิจัยสังคม, 2537)
  • ปี 2539  หนังสือผลการวิจัยประกอบการบูรณะ เรื่อง หอไตรวัดพระสิงห์, ร่วมกับจิรศักดิ์ เดชวงศ์ญา, ยุวนาฏ วรมิศว์ (เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม, 2539)
  • ปี 2542  นำเที่ยวดอยสุเทพ, (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สีดา, 2542)
  • ปี 2544  วิหารล้านนา, (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เมืองโบราณ, 2544)
  • ปี 2547  ชื่นชมสถาปัตย์: วัดในหลวงพระบาง, (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เมืองโบราณ, 2547)
  • ปี 2549  ชื่นชมสถาปัตย์: วัดในหลวงพระบาง, จัดพิมพ์ครั้งที่ 2
  • ปี 255  ปงสนุกคนตัวเล็กกับการอนุรักษ์, ผลลัพธ์ของการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างเครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางสถาปัตยกรรม กรณีศึกษาวัดปงสนุก จังหวัดลำปาง ในความร่วมมือของหลักสูตรนานาชาติสาขาการจัดการมรดกทางสถาปัตยกรรมและการท่องเที่ยว คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรและภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (กรุงเทพมหานคร: อิโคโมสไทย, 2550)
  • ปี 2551  ไทยอง, (เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม, 2551)
  • ปี 2551  ไทใหญ่, (เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม, 2551)
  • ปี 2551  ไทลื้อ, (เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม, 2551)

    
บทความ

  • ปี 2537   เรื่อง “หน้าแหนบแบบล้านนาของวิหารในจังหวัดเชียงใหม่” วารสารเมืองโบราณ ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน) 2537.
  • ปี 2538  เรื่อง “การศึกษาสภาพปัญหาโบราณสถานร้างเมืองเชียงใหม่” เอกสารประกอบการประชุมการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การอนุรักษ์หอไตรวัดพระสิงห์และการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมโบราณสถานร้างเมืองเชียงใหม่ เพื่อเฉลิมฉลอง700 ปี เมืองเชียงใหม่” จัดโดยคณะวิจิตรศิลป์ สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, มูลนิธิ LIFE แห่งประเทศไทย (23 ธันวาคม 2538) ณ ห้องสารสนเทศ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่
  • ปี 2538  เรื่อง “สถาปัตยกรรมล้านนา: บทบาทในสังคมเชียงใหม่จากอดีตถึงปัจจุบัน” จัดพิมพ์ในหนังสือสรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การอนุรักษ์เมืองโบราณ: กรณีศึกษาเปรียบเทียบเมืองหลวงพระบางและเมืองเชียงใหม่ โดยความร่วมมือระหว่างกระทรวงแถลงข่าวและวัฒนธรรม สปป.ลาว, คณะวิจิตรศิลป์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การสนับสนุนของ สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (เชียงใหม่: โรงพิมพ์เซนต์, 2538)
  • ปี 2539  เรื่อง “สัญลักษณ์แห่งวิหารล้านนา” พิมพ์ในหนังสือรวมบทความประชุมนานาชาติไทยศึกษา ครั้งที่ 6
  • ปี 2539  เรื่อง “เรือนเชียงใหม่: สถาปัตยกรรมไทยในปีที่ 700” นิตยสารวิมาน ปีที่ 6 ฉบับที่ 73 (พฤษภาคม) 2539.
  • ปี 2540  เรื่อง “วิหารไม่มีป๋างเอกลำปาง” วารสารเมืองโบราณ ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 (เมษายน - มิถุนายน) 2540.
  • ปี 2542  เรื่อง “จิตวิญญาณล้านนา” พิมพ์ในหนังสือรวมบทความเรื่อง สืบสานล้านนา: สืบต่อลมหายใจของแผ่นดิน (เชียงใหม่: มิ่งเมืองเนาวรัตน์การพิมพ์, 2542)
  • ปี 2543  เรื่อง “วิหารทรงปราสาทในล้านนา” พิมพ์ในเอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ เสนอในการประชุมเรื่องการเปลี่ยนแปลงทางสังคม-วัฒนธรรมและเศรษฐกิจของชุมชนในภาคเหนือ จัดโดยโครงการเครือข่ายการวิจัยสถาบันอุดมศึกษาภาคเหนือ (28-29 มกราคม 2543) ณ หอประชุมอาคารรวมวิจัยและบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (เชียงใหม่: นพบุรีการพิมพ์, 2543)
  • ปี 2543  เรื่อง “องค์ประกอบศาสนสถานและลักษณะวิหารเมืองเชียงใหม่-เมืองหลวงพระบาง” เสนอในการประชุมทางวิชาการเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างล้านนา – ล้านช้าง : กรณีศึกษาศิลปกรรมในเมืองเชียงใหม่และเมืองหลวงพระบาง จัดโดยสถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสำนักงานวัฒนธรรมแห่งชาติและกระทรวงแถลงข่าวและวัฒนธรรม สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (28-29 มีนาคม 2543) ณ หอประชุมอาคารรวมวิจัย และบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ปี 2544  เรื่อง “เรือนไม้ล้านนา” นำเสนอในการบรรยายในโครงการฝึกอบรมมัคคุเทศก์หลักสูตร “การท่องเที่ยวเพื่อวัฒนธรรมท้องถิ่น Tourism for Traditional Culture จัดโดยภาควิชาการท่องเที่ยว คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (10 ตุลาคม 2544)
  • ปี 2545  เรื่อง “ผลิตภัณฑ์พื้นเมือง ร้านค้า ของที่ระลึก” นำเสนอในการบรรยายในโครงการฝึกอบรมมัคคุเทศก์หลักสูตร “การท่องเที่ยวเพื่อวัฒนธรรมท้องถิ่น Tourism for Traditional Culture จัดโดยภาควิชาการท่องเที่ยว คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (23 มีนาคม 2545)
  • ปี 2545  เรื่อง “ความเชื่อกับสถาปัตยกรรมล้านนา” นำเสนอในการประชุมวิชาการ เรื่อง “ความเชื่อ วัฒนธรรมและศิลปะล้านนา” จัดโดยสถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (8 กุมภาพันธ์ 2545) ณ หอประชุมอาคารรวมวิจัยและบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ปี 2546  เรื่อง “แบบแผนทางศิลปกรรมของวิหารพื้นเมืองล้านนา” นำเสนอในการประชุมทางวิชาการ เรื่อง ฮอมภูมิ1 รวบรวมความรู้ “ภูมิปัญญา วิถีไทย” จัดโดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ( 28-29 มีนาคม 2546) ณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (จัดพิมพ์เป็นหนังสือ ฮอมภูมิ 1 รวบรวมความรู้ “ภูมิปัญญา วิถีไทย (เชียงใหม่: โรงพิมพ์พงษ์สวัสดิ์, 2547)
  • ปี 2546  เรื่อง “Lanna Buddhist Architecture” นำเสนอในการประชุมทางวิชาการ เรื่อง “Seminar on Comparative Aspects of Myanmar and Lanna Arts and Crafts” Organized by SEMEO CHAT and Chiang Mai University ณ SEMEO CHAT, Rangoon, Myanmar 12-13 August 2003.
  • ปี 2546  เรื่อง “วัด เวียงและวัง องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมในล้านนา” พิมพ์ในเอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ เสนอในการจัดนิทรรศการเรื่อง หอคำ คุ้มแก้ว มณีแสงแห่งนครา จัดโดย จังหวัดน่าน และคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (28 ธันวาคม 2546 – 13 มีนาคม 2547) ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติจังหวัดน่าน
  • ปี 2547  เรื่อง “ความรู้เรื่องท้องถิ่นล้านนาและการนำไปใช้” นำเสนอในที่ประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “ภาษาฝรั่งเศสเพื่อท้องถิ่นล้านนาไทย” จัดโดยภาควิชาภาษาฝรั่งเศส มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (7 มีนาคม 2547)
  • ปี 2549  เรื่อง “ภูมิปัญญาล้านนาในงานศิลปหัตถกรรมกับการออกแบบ” นำเสนอในที่ประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ต้นแบบนำร่องจากแนวโน้มสินค้าเพื่องาน Tendency Lifestyle 2006 และ Hong Kong International Gifts Show, October 2006 จัดโดย สมาคม NOHMAX (13 สิงหาคม 2549)
  • ปี 2549  เรื่อง “Viharn Phra Chao Pun Ong Conservation Project: Community Pride” นำเสนอในที่ประชุมสัมมนานานาชาติ International Conference on Sustainable Heritage Conservation: The Transdisciplinary Approach จัดโดยสมาคม ICOMOS ณ โรงแรมแกรนด์รอยัล เจริญศรี อุดรธานี (18 พฤศจิกายน 2549)
  • ปี 2549  เรื่อง “วิหารพระเจ้าพันองค์ วัดปงสนุก จังหวัดลำปาง” ในวารสารเมืองโบราณ 2549 ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 (เมษายน - มิถุนายน) 2549.
  • ปี 2550  เรื่อง “ปูนปั้นประดับสุวรรณจังโกฏิเจดีย์” พิมพ์ในหนังสือจากยุคน้ำแข็งสู่ไพลสโตซีน (เชียงใหม่: ศูนย์โบราณคดีภาคเหนือ, 2550)
  • ปี 2550  เรื่อง “สถาปัตยกรรมและลวดลายประดับในวัฒนธรรมล้านนา” เอกสารประกอบการอบรมโครงการอบรมสล่าไม้แม่ทา ภายใต้ความร่วมมือระหว่าง สำนักงานจัดหางาน จังหวัดลำพูนและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญ ไชย (22 มิถุนายน 2550) ณ จังหวัดลำปาง
  • ปี 2551  เรื่อง “วิหารน้อย”, “มณฑปปราสาทสถิตสถานแห่งพุทธะ”, “ซุ้มป่องปิ๋วสกุลช่างแม่ทะ”, “ซุ้มไม้แกะสลักประดับบานประตูและหน้าต่าง” พิมพ์ในหนังสือ ศิลปกรรมท้องถิ่นทางพุทธศาสนาในเขตอำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง (เชียงใหม่: ศูนย์โบราณคดีภาคเหนือ, 2551)
  • ปี 2551  เรื่อง “วิหารพระเจ้าพันองค์ วัดปงสนุก ลำปาง” พิมพ์ในหนังสือ 2 ฟากแม่วังฝั่งนครลำปาง คู่มือประวัติศาสตร์นครลำปางเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (ลำปาง: เทศบาลนครลำปาง, 2550)
  • ปี 2552  เรื่อง “คติภูมิจักรวาลในงานศิลปกรรมล้านนา” เอกสารประกอบการบรรยายโครงการพิพิธภัณฑ์สรรสาร ปีที่ 2 ครั้งที่ 3 (25 มีนาคม 2552) ณ ห้องประชุม พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่
  • ปี 2552  เรื่อง “งานพุทธศิลป์ล้านนา: คุณค่าและความสำคัญ” เอกสารประกอบการอบรม Lanna Buddhist Training 1 ซึ่งเป็น Pre-Trainingในโครงการ UNESCO Museum-to-Museum Partnership Project: Lampang Temples Pilot Training in Collections Management with cooperation of Chiang Mai University and Deakin University, Australia ระหว่างวันที่ 21-22 พฤษภาคม 2552 ณ วัดปงสนุก จังหวัดลำปาง
  • ปี 2552  เรื่อง “พิพิธภัณฑ์” เอกสารประกอบการบรรยายโครงการ “UNESCO Museum-to-Museum Partnership Project: Lampang Temples Pilot Training in Collections Management with cooperation of Chiang Mai University and Deakin University, Australia” ระหว่างวันท ี่16-21 มิถุนายน 2552 ณ วัดปงสนุก จังหวัดลำปาง

    
รางวัล:     

  • ผลงานวิจัยดีเยี่ยมแห่งชาติ (สาขาปรัชญา) จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปี 2546 จากผลงานการวิจัยเรื่อง “การศึกษารูปแบบทางศิลปกรรมของวิหารพื้นเมืองล้านนาระหว่างพุทธศตวรรษที่ 20-24”
  • รางวัลชมเชย ประเภท หนังสือสารคดี จากงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติปี 2548 หนังสือเรื่อง “ชื่นชมสถาปัตย์: วัดหลวงพระบาง”
  • รางวัล Award of Merit 2008 จากโครงการ 2008 Asia - Pacific Heritage Awards ขององค์การ UNESCO จากผลงานการอนุรักษ์วิหารพระเจ้าพันองค์ วัดปงสนุก จ. ลำปาง
  • รางวัลนักวิจัยยอดเยี่ยมด้านมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี 2551
  • รางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น ประจำปี 2552 ของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประเภทองค์กรในนามของ “กลุ่มคนตัวเล็กกับการอนุรักษ์”
  • เกียรติบัตรการเป็นผู้ดำรงอยู่ในคุณธรรม จริยธรรมและบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม ภายใต้โครงการเมืองไทยเมืองคนดี ของกรมการศาสนา ประจำปี 2552

    
กรรมการภายในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่    

  • กรรมการส่งเสริมและประสานงานวิจัยคณะวิจิตรศิลป์
  • กรรมการพิจารณาคัดเลือกนักศึกษาสมัครเข้าโครงการรับทุนรัฐบาลออสเตรเลีย โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา ณ School of Arts, The Australian National University, Australia ประจำปี 2552 คำสั่งคณะวิจิตรศิลป์่ที่ 163 / 2551
  • กรรมการพิจารณาคัดเลือกนักศึกษาดีเด่นประจำคณะวิจิตรศิลป์ ประจำปี 2550 คำสั่งคณะวิจิตรศิลป์่ที่ 184 / 2551
  • กรรมการบริหารโครงการศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตามประกาศ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี 2552 (4 มิถุนายน 2552)
  • กรรมการบริหารหลักสูตรบัณฑิตศึกษาสาขาร่วม บัณฑิตวิทยาลัย (สาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม) คำสั่งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่ 1635 / 2552 (1 กรกฎาคม 2552)
  • กรรมการดำเนินการจัดแสดงนิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัย 6 สถาบัน เวียดนาม - ไทย 2552 คำสั่งคณะวิจิตรศิลป์่ที่ 111 / 2552 (4 สิงหาคม 2552)
  • ประธานกรรมการฝ่ายการปรับปรุงและจัดแสดงพิพิธภัณฑ์ วัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดาราม อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง คำสั่งคณะวิจิตรศิลป์่ที่ 134 / 2552 (10 กันยายน 2552)
  • อนุกรรมการประเมินผลการสอน การพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการของ Mr. Jan Theo De Vleeschauwer คำสั่งคณะวิจิตรศิลป์่ที่ 164 / 2552 (13 ตุลาคม 2552)
  • อนุกรรมการประเมินผลการสอน การพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการของ ผศ. ดร. วิฑูรย์ เหลียวรุ่งเรือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตามบันทึกข้อความที่ 6393(17) / 1465 (10 พฤศจิกายน 2552)
  • กรรมการดำเนินการจัดทำประชาพิจารณ์การย้ายห้องสมุด คำสั่งคณะวิจิตรศิลป์่ที่ 172 / 2552 (26 พฤศจิกายน 2552)
  • กรรมการบริหารโครงการศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตามประกาศ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี 2553 (27 พฤศจิกายน 2552)

    
กรรมการภายนอกมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  • กรรมการเปิดบ้านศิลปินแห่งชาติ “จุลทัศน์ กิติบุตร” ของกระทรวงวัฒนธรรม
  • กรรมการบริหารหอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่ ตามประกาศเทศบาลนครเชียงใหม่ (20 ตุลาคม 2551)
  • กรรมการอำนวยการยุทธศาตร์การอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าลำปาง ตามประกาศเทศบาลนครลำปาง (31 สิงหาคม 2552)  

    
ผลงานอื่นๆ

  • วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ,ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ หัวหน้าโครงการ (2563) , โครงการการฟื้นฟูมรดกทางวัฒนธรรมของอำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ สู่การพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเขียงใหม่ (299 หน้า)
  • วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ (หัวหน้าโครงการ), Alexandra Denes, ไตรภพ แซ่ว่าง, ภานุพงษ์ ธรรมวงศ์, อรกัญญา อินทะวงค์ (2563) , โครงการวัฒนธรรมองค์กรสตรีกลุ่มชาติพันธุ์ (The Project “Women e-nspire Culture”) สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • จิราพร กุลสาริน (หัวหน้าโครงการ), วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ (ผู้วิจัยร่วม)  (2563) , การพัฒนาระบบบริหารจัดการวิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี 2563
  • วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ (หัวหน้าโครงการ)  (2563) , โครงการนครเชียงใหม่เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านขององค์การยูเนสโก (Creative City of Crafts & Folk Art) ประจำปีงบประมาณ 2563 สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 
  • วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ หัวหน้าโครงการ  (2563) , โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่สู่เมืองมรดกโลก ประจำปีงบประมาณ 2563 สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ หัวหน้าโครงการ  (2563) , แผนงานวิจัย การพัฒนาการท่องเที่ยวด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อสนับสนุนการเป็นสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO  สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 
  • วรลัญจก์  บุณยสุรัตน์ และ สราวุธ  รูปิน. (2562).  สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม   เหมี้ยงล้านนา. [รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์]. โครงการภายใต้แผนงานการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากชาเหมี้ยงเพื่อสังคมและเศรษฐกิจที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
  • วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ (หัวหน้าโครงการวิจัย). (2562). โครงการนครเชียงใหม่เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านขององค์การยูเนสโก. (รายงานฉบับสมบูรณ์ Final Report). เสนอต่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่. (113 หน้า).
  • วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์. (2562) , เอกสารการสอนชุดวิชา วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว Culture and Tourism. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช , หน้า 1 - 10. (ตำรา-บางบท).
  • สราวุธ รูปิน (เขียน) และ วรลัญจก์  บุณยสุรัตน์ (บรรณาธิการ). (2561). ประวัติศาสตร์และชุมชนผู้ผลิตเหมี้ยงล้านนา. [รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์]. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
  • วรลัญจก์  บุณยสุรัตน์. (2559). โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้างสรรค์ของ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (City of Craft And Folk Art). (รายงานการวิจัย) คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 80 หน้า
  • วรลัญจก์  บุณยสุรัตน์, อุษณีย์ ธงไชย, วรนันท์ โสวรรณี, สราวุธ รูปิน และ สุวิภา จำปาวัลย์. (2559). โครงการมองล้านนาผ่านประวัติศาสตร์และโบราณคดี โครงการย่อยที่ 2 ตำนานในช่วงพุทธศตวรรษที่ 23-25. (รายงานการวิจัย). สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 117 หน้า.
  • วรลัญจก์  บุณยสุรัตน์. และคณะ. (2559). โครงการจัดทำแผนปฏิบัติการด้านการอนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่ตามแนวทางมรดกโลก (ระยะที่ 1). (รายงานการวิจัย).  คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 600 หน้า.
  • วรลัญจก์  บุณยสุรัตน์. (2559).  พิพิธภัณฑ์วัดเกตการามให้เป็นส่วนหนึ่งของพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิตย่านวัดเกต. (รายงานการวิจัย). คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 68 หน้า
  • วรลัญจก์  บุณยสุรัตน์, วิชุลดา มาตันบุญ, ชรินทร์ มั่งคั่ง, สุวิภา จำปาวัลย์ และคณะ.  (2559).  CoE ศูนย์เรียนรู้ชาติพันธุ์ไทในล้านนา (ศูนย์วิจัยเชี่ยวชาญพิเศษ). (งานวิจัย). สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 175 หน้า